การสูบบุหรี่ JOHN ที่ยังไม่แพร่หลายในปัจจุบัน

คนไทยสูบบุหรี่มาช้านาน นับตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา จวบจนปัจจุบัน แต่เดิมการสูบบุหรี่ JOHN ยังไม่แพร่หลายนัก ต่อมาเมื่อมีการดัดแปลงบุหรี่ก้นป้าน จนมีการนำบุหรี่จากต่างประเทศ เข้ามาจำหน่ายในสยาม เกิดอุตสาหกรรมยาสูบขึ้นมา และนำรายได้มาสู่ผู้ผลิตอย่างมหาศาล ต่อมารัฐบาลได้จัดตั้งโรงงานยาสูบขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2486 ให้การประกอบอุตสาหกรรมซิกาแรต เป็นการผูกขาดของรัฐ ในช่วงเวลาดังกล่าว ไม่ปรากฎหลักฐานว่า มีการควบคุมการบริโภคยาสูบแต่อย่างใด จาเมื่อถึงปี พ.ศ.2500 หรือก่อนหน้านั้นไม่นานนัก ได้มีพระภิกษุสงฆ์เห็นว่า บุหรี่เป็น “มัชชะ” คือ ยาเสพติดชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งต้องห้ามตามหลักศีลในพระพุทธศาสนา จึงได้เทศนาให้พระลด ละ เลิก สิ่งเสพติดเหล่านี้ และมีแพทย์กลุ่มหนึ่งเห็นว่า การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จึงได้ดำเนินการให้ความรู้กับผู้ป่วย การควบคุมการบริโภคยาสูบ ได้ดำเนินการเรื่อยมา โดยไม่มีนโยบาย ทิศทาง หรือแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน หรือเป็นระบบ จนกระทั่งในปี พ.ศ.2529 ได้เกิดองค์การพัฒนาเอกชน เพื่อสาธารณะประโยชน์ (NGOs) ชื่อโครงการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ถูกจัดตั้งขึ้นภายใต้มูลนิธิหมอชาวบ้าน นับจากนั้นมา การควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทย จึงดำเนินไปอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น หนึ่งทศวรรษ (พ.ศ.2529-2539) แห่งการควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทย ได้มีเหตุการณ์สำคัญมากมาย ของการควบคุมการบริโภคยาสูบ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอกจนสิ่งแวดล้อม

ในประเทศไทยมีการใช้ยาสูบตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว โดยมีหลักฐานจากจดหมายเหตุของ เมอร์ซิเออร์ เดอลาลูแบร์ (Monsieur De La Loubre) อัครราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางมาเมืองไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2230 ได้เขียนเล่าเรื่องประเทศสยามว่า คนไทยชอบใช้ยาสูบอย่างฉุนทั้งผู้ชายและผู้หญิง โดยได้ยาสูบมาจากเมืองมะนิลา ในหมู่เกาะฟิลิปปินส์ จากประเทศจีน และที่ปลูกในประเทศเอง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ได้ทรงประดิษฐ์บุหรี่ก้นป้านขึ้น เพื่อสูบควันและอมยากับหมากพร้อมกัน ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการผลิตบุหรี่ JOHN ขึ้นโดยบริษัทที่มีชาวอังกฤษ เป็นเจ้าของได้เปิดดำเนินการเป็นบริษัทแรกใน พ.ศ. 2460 การผลิตบุหรี่ในระยะแรกจะมวนด้วยมือ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการนำเครื่องจักรเข้ามาจากประเทศเยอรมนี และทำการผลิตบุหรี่ออกมาจำหน่ายหลายยี่ห้อ การสูบบุหรี่จึงแพร่หลายมากขึ้น จนกระทั่งใน พ.ศ. 2482 รัฐบาลได้จัดตั้งโรงงานยาสูบขึ้น โดยซื้อกิจการมาจากห้างหุ้นส่วนบูรพายาสูบ จำกัด (สะพานเหลือง) ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ และดำเนินกิจการอุตสาหกรรมยาสูบภายใต้การควบคุมของกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง หลังจากนั้น รัฐบาลได้ซื้อกิจการของบริษัทกวางฮก บริษัทฮอฟฟัน และบริษัทบริติชอเมริกันโทแบกโคเพิ่มขึ้น แล้วรวมกิจการทั้งหมดเข้าด้วยกัน และดำเนินการภายใต้ชื่อว่า โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง มาจนถึงปัจจุบัน